วันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2555

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผนที่ภาคเหนือ กำหนดตามสภาพภูมิศาสตร์ โดยราชบัณฑิตยสถาน
แผนที่ภาคเหนือ กำหนดตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ดอยทางภาคเหนือ
ภาคเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย อยู่ทางตอนเหนือของประเทศ มีเขตแดนทางตอนเหนือติดกับชายแดนพม่าและลาว ทางตะวันออกจรดชายแดนลาวและภาคอีสาน ทางตะวันตกจรดพม่า และทางใต้ติดกับภาคกลาง

เนื้อหา

 [ซ่อน

[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง

ภูมิประเทศของภาคเหนือเต็มไปขุนเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อน โดยเฉพาะบริเวณตอนเหนือสุด เช่น จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน และน่าน โดยมีจุดสูงสุดของภาค (และของประเทศ) อยู่ที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ทางตอนเหนือของภาคนั้นจะมีภาษาไทยที่มีสำเนียงเป็นของตนเองเรียกว่า คำเมือง
จังหวัดในภาคเหนือ แบ่งตามความคุ้นเคยของชาวไทย และตามราชบัณฑิตยสถาน[1] จะประกอบไปด้วย 9 จังหวัด ได้แก่
  1. เชียงราย (โยนกเชียงแสน)
  2. เชียงใหม่ (นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่)
  3. น่าน (นันทบุรีศรีนครน่าน)
  4. พะเยา (ภูกามยาว)
  5. แพร่ (เวียงโกศัย)
  6. แม่ฮ่องสอน
  7. ลำปาง (เขลางค์นคร)
  8. ลำพูน (หริภุญชัย)
  9. อุตรดิตถ์ (เมืองพิชัย,เมืองลับแล)
นอกจากการแบ่งตามราชบัณฑิตยสถานแล้ว ยังมีหน่วยงานที่จัดแบ่งภูมิภาคของประเทศไทยที่สำคัญอีกหน่วยงานหนึ่งคือ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กำหนดให้ภาคเหนือประกอบด้วย 17 จังหวัดได้แก่ [1]
ภาคเหนือ ตอนบน
  1. เชียงราย
  2. เชียงใหม่
  3. น่าน
  4. พะเยา
  5. แพร่
  6. แม่ฮ่องสอน
  7. ลำปาง
  8. ลำพูน
  9. อุตรดิตถ์
ภาคเหนือ ตอนล่าง
  1. ตาก
  2. พิษณุโลก
  3. สุโขทัย
  4. เพชรบูรณ์
  5. พิจิตร
  6. กำแพงเพชร
  7. นครสวรรค์
  8. อุทัยธานี
9 จังหวัดแรกในการแบ่งเช่นนี้อาจเรียกว่า ภาคเหนือตอนบน ซึ่งส่วนใหญ่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนามาก่อน (สำหรับจังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดตากเคยเป็นบางส่วน) และมีภาษาถิ่นเป็นคำเมือง ส่วนจังหวัดที่เหลืออาจเรียกว่า ภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดนครสวรรค์ อันเป็นศูนย์กลางการคมนาคมที่สำคัญ

[แก้] สถิติประชากรของจังหวัดในภาคเหนือ ตามการแบ่งเขตปกครองของราชบัณฑิตยสถาน

รายชื่อจังหวัดซึ่งมีประชากรมากที่สุดในประเทศไทย (31 ธันวาคม พ.ศ. 2553)'[2]
อันดับ จังหวัด จำนวนประชากร (คน)
1 เชียงใหม่ 1,640,479
2 เชียงราย 1,198,218
3 ลำปาง 761,949
4 พะเยา 486,304
5 น่าน 476,363
6 อุตรดิตถ์ 462,618
7 แพร่ 460,756
8 ลำพูน 404,560
9 แม่ฮ่องสอน 242,742
รวม 6,133,989
ภาพพาโนรามาของตัวเมืองเชียงใหม่ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2553
ภาพพาโนรามาของตัวเมืองเชียงใหม่ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2553

[แก้] รายชื่อเมืองใหญ่โดยดูจำนวนประชากรในเขตเทศบาล

เทศบาลนครเชียงใหม่
เทศบาลนครนครสวรรค์
เทศบาลนครพิษณุโลก
เทศบาลนครเชียงราย
เทศบาลนครลำปาง
  1. เทศบาลนครเชียงใหม่ เป็นอันดับที่ 6 ของประเทศไทย
  2. เทศบาลนครนครสวรรค์ เป็นอันดับที่ 12 ของประเทศไทย
  3. เทศบาลนครพิษณุโลก เป็นอันดับที่ 16 ของประเทศไทย
  4. เทศบาลนครเชียงราย เป็นอันดับที่ 19 ของประเทศไทย
  5. เทศบาลนครลำปาง เป็นอันดับที่ 23 ของประเทศไทย
  6. เทศบาลนครแม่สอด เป็นอันดับที่ 28 ของประเทศไทย

[แก้] ประวัติศาสตร์

[แก้] ที่ตั้ง

บริเวณภาคเหนือตอนบน เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรสามอาณาจักร ได้แก่
บริเวณภาคเหนือตอนล่าง เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรสองอาณาจักร ได้แก่

[แก้] ที่ตั้งและขอบเขตภาคเหนือ

  • ทิศเหนือ ดินแดนที่อยู่เหนือสุดของภาคคือ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าและลาว มีเทือกเขาแดนลาว แม่น้ำสายและแม่น้ำรวกกั้นเขตแดน
  • ทิศตะวันออก ดินแดนที่อยู่ทางตะวันออกสุดของภาคคือ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศลาว มีเทือกเขาหลวงพระบางกั้นเขตแดน
  • ทิศตะวันตก ดินแดนที่อยู่ทางตะวันตกสุดของภาคคืออำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีอาณาเขตติดต่อกับ ประเทศพม่า มีแม่น้ำเมยและแม่น้ำสาละวินกั้นเขตแดน
  • ทิศใต้ ดินแดนที่อยู่ทางตอนใต้สุดของภาคคือ อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

[แก้] ทรัพยากร

[แก้] ป่าไม้

[แก้] อุทยานแห่งชาติ วนอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

ในภาคเหนือเป็นดอยสูงสลับซับซ้อนหลายชั้น มีอุทยานแห่งชาติสำคัญหลายแห่ง เช่น

[แก้] เขื่อน

ภูชี้ฟ้า
ภูชี้ฟ้า
เขื่อนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ที่สำคัญ ได้แก่

[แก้] เทือกเขาที่สำคัญของภาคเหนือ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น